วัดศรีโคมคำ (วัดพระเจ้าตนหลวง)
เป็นวัดสำคัญวัดหนึ่งในจังหวัดพะเยา วิหารหลวงเป็นสถาปัตยกรรมล้านนา ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์ใหญ่เรียกกันทั่วไปว่าพระเจ้าตนหลวงหรือพระเจ้าตน หลวงทุ่งเอี้ยงเมืองพะเยา
เป็นวัดสำคัญวัดหนึ่งในจังหวัดพะเยา วิหารหลวงเป็นสถาปัตยกรรมล้านนา ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์ใหญ่เรียกกันทั่วไปว่าพระเจ้าตนหลวงหรือพระเจ้าตน หลวงทุ่งเอี้ยงเมืองพะเยา
ช่อฟ้าวัดศรีโคมคำ ศิลปะล้านนาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตนทำจากไม้แกะสลักลงรักปิดทอง
คันทวยวัดศรีโคมคำ
คันทวยวัดศรีโคมคำ ส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมไทยล้านนาทำหน้าที่ค้ำยันชายคา ทำจากไม้แกะสลักเป็นรูปลิงในท่าทางต่าง ๆ ซึ่งเป็นงานศิลปะที่มีเอกลักษณ์เฉพา
คันทวยวัดศรีโคมคำ ส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมไทยล้านนาทำหน้าที่ค้ำยันชายคา ทำจากไม้แกะสลักเป็นรูปลิงในท่าทางต่าง ๆ ซึ่งเป็นงานศิลปะที่มีเอกลักษณ์เฉพา
พระเจ้าตนหลวง
เป็นพระพุทธรูปศิลปะเชียงแสนล้านนา สร้างด้วยอิฐถือปูนลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง ๒๙ ศอกสูง ๓๒ ศอก สร้างเมื่อปีพุทธศักราช ๒o๓๔ นับถึงปัจจุบันมีอายุถึง ๕๒๒ ปี
เป็นพระพุทธรูปศิลปะเชียงแสนล้านนา สร้างด้วยอิฐถือปูนลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง ๒๙ ศอกสูง ๓๒ ศอก สร้างเมื่อปีพุทธศักราช ๒o๓๔ นับถึงปัจจุบันมีอายุถึง ๕๒๒ ปี
บทความตอนหนึ่งในหนังสือ ล้านนา Art and Culture ของอาจารย์สุรชัย จงจิตงาม
เรื่องการเดินทางของพระแก้วมรกต
ตำนานเล่าว่าพระแก้วมรกตสร้างขึ้นที่เมืองปาฎลีบุตรประเทศอินเดียเมื่อ พ.ศ. ๕oo โดยพระอินทร์และพระวิสสุกรรมได้นำแก้วเขี้ยวมาจากเขาวิบูลบรรพต ใช้เวลาสลัก ๗ วัน ๗ คืนเมื่อสลักเสร็จสมบูรณ์ได้ถูกอัญเชิญมาประดิษฐานตามที่ต่าง ๆ หลายแห่ง เช่น ลังกา กัมพูชาและกำแพงเพชร แต่เรื่องราวช่วงต้นนี้ อ.พิเศษ เจียยจันทร์พงษ์ เสนอว่าน่าจะเป็นเรื่องที่แต่งขึ้น ส่วนช่วงถัดมาโดยเฉพาะช่วงที่อยู่ในล้านนาน่าจะเป็นเรื่องจริง ซึ่งสอดคล้องกับข้อเสนอของ ศ.ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ ที่พบว่าพระแก้วมรกตน่าจะสลักขึ้นโดยฝีมือสกุลช่างพะเยา เมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ ๒o นี่เอง
เรื่องการเดินทางของพระแก้วมรกต
ตำนานเล่าว่าพระแก้วมรกตสร้างขึ้นที่เมืองปาฎลีบุตรประเทศอินเดียเมื่อ พ.ศ. ๕oo โดยพระอินทร์และพระวิสสุกรรมได้นำแก้วเขี้ยวมาจากเขาวิบูลบรรพต ใช้เวลาสลัก ๗ วัน ๗ คืนเมื่อสลักเสร็จสมบูรณ์ได้ถูกอัญเชิญมาประดิษฐานตามที่ต่าง ๆ หลายแห่ง เช่น ลังกา กัมพูชาและกำแพงเพชร แต่เรื่องราวช่วงต้นนี้ อ.พิเศษ เจียยจันทร์พงษ์ เสนอว่าน่าจะเป็นเรื่องที่แต่งขึ้น ส่วนช่วงถัดมาโดยเฉพาะช่วงที่อยู่ในล้านนาน่าจะเป็นเรื่องจริง ซึ่งสอดคล้องกับข้อเสนอของ ศ.ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ ที่พบว่าพระแก้วมรกตน่าจะสลักขึ้นโดยฝีมือสกุลช่างพะเยา เมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ ๒o นี่เอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น